คณะวิศวกรรมศาสตร์
Faculty of Engineering
มุ่งเน้นในการผลิตองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านวิศวกรรมในสาขาต่าง ๆ และสร้างวิศวกรซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะในระดับสากล ด้วยบุคลากรซึ่งมีความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชาและหลักสูตรที่ทันสมัยทั้งหลักสูตรไทยและหลักสูตรนานาชาติ
หลักสูตรที่ทำการเปิดสอนในปัจจุบัน
หลักสูตรปริญญาตรี
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) Bachelor of Engineering (B.Eng.) มี 17 สาขาวิชา ประกอบด้วย
1. วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
2. วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
3. วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
4. วิศวกรรมเรือ (Naval Architecture and Marine Engineering)
5. วิศวกรรมยานยนต์ (Automotive Engineering)
6. วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
7. วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)
8. วิศวกรรมทรัพยากรธรณี (Georesources Engineering)
9. วิศวกรรมปิโตรเลียม (Petroleum Engineering)
10. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
11. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
12. วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (Metallurgical and Materials Engineering)
13. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
14. วิศวกรรมนาโน (หลักสูตรนานาชาติ) (Nano-Engineering)
15. วิศวกรรมการออกแบบและการผลิตยานยนต์ (หลักสูตรนานาชาติ) (Automotive Design and Manufacturing Engineering)
16. วิศวกรรมอากาศยาน (หลักสูตรนานาชาติ) (Aerospace Engineering)
17. วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ) (Information and Communication Engineering)
หลักสูตรปริญญาโท
1. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) Master of Engineering (M.Eng.) 15 สาขาวิชา ประกอบด้วย
1.1 วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
1.2 วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
1.3 วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
1.4 วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
1.5 วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)
1.6 วิศวกรรมทรัพยากรธรณีและปิโตรเลียม (หลักสูตรนานาชาติ) (Georesources and Petroleum Engineering)
1.7 วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
1.8 วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
1.9 วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (Metallurgical and Materials Engineering)
1.10 วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
1.11 วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)
1.12 วิศวกรรมแหล่งน้ำ(Water Resources Engineering)
1.13 การจัดการทางวิศวกรรม (หลักสูตรนานาชาติ) (Engineering Management)
1.14 วิศวกรรมชีวเวช (หลักสูตรสหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
1.15 วิศวกรรมและเทคโนโลยีการป้องกันประเทศ (Defense and Engineering Technology)
2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 5 สาขาวิชา ประกอบด้วย
2.1 วิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ (Computer Science)
2.2 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
2.3 เทคโนโลยีนิวเคลียร์ (Nuclear Technology)
2.4 วิศวกรรมชีวเวช (หลักสูตรสหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
2.5 ระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรม (Spatial Information System in Engineering)
หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ
1. วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 11 สาขาวิชา ประกอบด้วย
1.1 วิศวกรรมโยธา (หลักสูตรนานาชาติ) (Civil Engineering)
1.2 วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
1.3 วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
1.4 วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
1.5 วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)
1.6 วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
1.7 วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
1.8 วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (Metallurgical and Materials Engineering)
1.9 วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
1.10 วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)
1.11 วิศวกรรมแหล่งน้ำ(Water Resources Engineering)
2. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ประกอบด้วย
2.1 วิศวกรรมชีวเวช (หลักสูตรสหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
คณาจารย์ผู้รับผิดชอบคณะ
Dean
คณบดี
*******